เหมันต์
“เดือนห้า : ประเพณีสงกรานต์” เดือนห้า หมายถึงเดือนใด
พฤษภาคม
“เดือนหก : แรกนาขวัญ โกนจุก แต่งงาน” เดือนหกคือเดือนใด
มิถุนายน
“เดือนเจ็ด : สลากภัต” เดือนเจ็ดหมายถึงเดือนใด
กรกฎาคม
“เดือนแปด : เข้าพรรษา” เดือนแปดหมายถึงเดือนใด
สิงหาคม
“เดือนเก้า : ไม่สมในอารมณ์รัก” เดือนเก้าคือเดือนใด
กันยายน
“เดือนสิบ : ประเพณีสารท” เดือนสิบคือเดือนใด
ตุลาคม
“เดือนสิบเอ็ด : ออกพรรษา ทอดกฐิน” เดือนสิบเอ็ดคือเดือนใด
พฤศจิกายน
“เดือนสิบสอง : ลอยกระทง ทอดผ้าป่า เทศน์มหาชาติ” เดือนสิบเอ็ดคือเดือนใด
“เดือนอ้าย เดือนยี่ เดือนสาม : คร่ำครวญถึงเธอที่รัก” ทั้งสามเดือนนี้คือเดือนใด
มกราคม กุมภาพันธ์ มีนาคม
“เดือนสี่ : ประเพณีตรุษจีน” เดือนสี่คือเดือนใด
เมษายน
นิราศเดือน แต่งด้วยคำประพันธ์ประเภทกลอนนิราศ ซึ่งคล้ายกลอนสุภาพ(กลอนแปด)แต่ขึ้นต้นด้วยวรรครับ
ไม่ใช่คำถาม รับไปเลย 300 ฿
“โอ้ฤดูเดือนห้าหน้าคิมหันต์” คิมหันต์ หมายถึงฤดูกาลใด
ฤดูร้อน
“ถึงเดือนสี่ปีสุดถึงตรุษใหม่ ยังไม่ได้นุชนาฏที่ปราถนา” ในวรรคนี้มีคำใดที่คล้องจองกันบ้าง
สี่-ปี, สุด-ตรุษ, นาฏ-ปราถ
“นวลหงคงจะรู้ถึงหูดัง จะนอนฟังทุกข์พี่ไม่มีเว้น” ในวรรคนี้มีคำใดที่คล้องจองกันบ้าง
หง-คง, รู้-หู, พี่-มี
นิราศเดือน มีเนื้อหาที่กล่าวถึงประเพณีของแต่ละเดือน โดยมีทั้งหมด 12 เดือน
ไม่เป็นคำถาม รับไปเลย 300 ฿
“ถ้าความทุกข์เราดังเหมือนยังปืน พิภพพื้นก็จะไหวเหมือนใจหวัง” ในวรรคนี้มีคำใดที่คล้องจองกันบ้าง
ดัง-ยัง, ไหว-ใจ
นิราศเดือนแต่งโดย นายมี (หมื่นพรหมสมพัดสร)
ไม่เป็นคำถาม รับไปเลย 400 ฿
ไม่เป็นคำถาม รับไปเลย 400 ฿
คำคล้องจอง หมายถึงอะไร
คำที่มีเสียงสระและตัวสะกดในมาตราเดียวกัน เช่น กาล-วาฬ อ่านว่า กาน-วาน
“ฟังเสียงปืนยิงยัดอัตนา รอบมหานัคเรศนิเวศวัง” ในวรรคนี้มีคำใดที่คล้องจองกันบ้าง
ยัด-อัต, เรศ-เวศ
เดือนในนิราศเดือนมีทั้งกี่เดือน?
12เดือน
นิราศเดือนกล่าวถึงสิ่งใดระหว่าง ประเพณี-วัฒนธรรม
ประเพณี เพราะประเพณีหมายถึงกิจกรรมที่เชื่อและยึดถือจนเป็นแบบแผน (งานสำคัญต่าง ๆ) เช่น งานลอยกระทง
ขนมอะไรที่เป็นขนมประจำประเพณีสารท
ขนมกระยาสารท
นิราศมักจะตั้งชื่อตามผู้แต่ง เหตุการณ์ หรือสถานที่ในเนื้อเรื่อง
ไม่เป็นคำถาม รับไปเลย 500 ฿